PRESSURE MEASUREMENT-24-Pressure Transmitter

Pressure Transmitter เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดความดันและแปลงสัญญาณออกมาเป็นสัญญาณมาตรฐานเพื่อ นำไปควบคุมกระบวนการต่างๆ Pressure Transmitter นั้นสามารถวัดได้ทั้งของของเหลว เช่น แก๊ส น้ำ น้ำมัน เป็นต้น และรวมไปถึงการวัดความดันของ Pneumatic หรือลม ปัจจุบันมีการนำอุปกรณ์ตรวจวัดแรงดันมาใช้กันอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ เช่น อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์, อาหารและยา, เคมี, ยานยนต์ เป็นต้น เพื่อวัดและควบคุมแรงดันในระบบ เช่น การวัดแรงดันนํ้ามันในกระบอกไฮดรอลิก, วัดความดันลม, วัดแรงดันน้ำของปั๊มนํ้า, วัดแรงดันไอนํ้าในหม้อนํ้า (Boiler) เป็นต้น เพื่อนำไปควบคุมและแสดงผลค่าของแรงดันที่ต้องการจะวัดของกระบวนการต่าง ๆ ในระบบ โดย Pressure Transmitter มีหน่วยในการแสดงผลของค่าแรงดันที่วัดได้ เช่น Bar, mbar, kpa, psi, mmHg เป็นต้น Pressure Transmitter จะปลี่ยนแรงดันทางกลผ่านชุด Transducer (ชนิด Strain Gauge) ให้เป็นสัญญาณทางไฟฟ้าในรูปแบบของอนาล็อก เช่น 0-20mA, 4-20mA , Voltage […]

PRESSURE MEASUREMENT-23-ELECTRIC CONTACT PRESSURE GAUGE

ELECTRIC CONTACT หรือ เกจอิเลคโทรนิค เป็นเกจที่มีสวิทช์ตัดต่อวงจรไฟฟ้า เพื่อการเปิด-ปิด ของหน้าสัมผัส ( contact ) ทำงานโดยอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าช่วยในการเปิด-ปิดหน้าสัมผัส ในการตัดต่อวงจรไฟฟ้า เช่น เปิด-ปิด การทำงานของ วงจรควบคุมมอเตอร์ ควบคุมวงจรปั้มน้ำ โดยอาศัยแรงดันของระบบเป็นตัวคอนโทรล Dial Size (ขนาดหน้าปัด) :   4″ Material Case : สแดตเลส 304 Material Connection (ข้อต่อ) : สแดตเลส Connection Type (ลักษณะข้อต่อ) : อยู่ด้านล่างของหน้าปัด หรือเรียกง่ายๆ ว่า “แบบออกล่าง” Range (ย่านการวัด) 3 แบบ คือ Normal Range คือ 0 to + Vacuum  Range คือ (-) to 0 Compound range […]

PRESSURE MEASUREMENT-22-Syphon

ไซฟอน (Syphon) หรือ ไส้ไก่, หางหมู เป็นอุปกรณ์ที่ไว้ติดตั้งพร้อมกับเกจวัดแรงดัน เพื่อช่วยในการลดอุณหภูมิของไหลก่อนเข้าถึงเกจวัดแรงดัน (Pressure Gauge) ป้องกันไม่ให้เกจวัดแรงดันเสียหาย เหมาะสำหรับงานที่ใช้ความร้อนสูงหรืองานที่ใช้ไอน้ำ (Stream)  สามารถติดกับเกจวัดแรงดันได้โดยตรงหรือสามารถติดกับไดอะแฟรมได้ (Diaphragm) โดยในไซฟ่อนต้องมีอากาศ,น้ำมัน,สารลดอุณหภูมิเติมไว้ เมื่อช่างทำการติดตั้งพร้อมซีลไม่ให้เกิดการรั่วแล้วสารเหล่านี้จะถูกดักไว้ด้านในท่อไซฟ่อน ทำหน้าที่เป็นตัวป้องกันให้กับเกจวัดแรงดัน ช่วยป้องกันการสัมผัสกับสารในท่อโดยตรง ซึ่งสารเหล่านี้ที่เติมไว้ก็ควรจะไม่ส่งอุณหภูมิไปยังเครื่องมือวัด แต่ส่งผ่านแรงดันไปยังเกจวัดแรงดันได้นั้นเอง   ชื่อภาษาอังกฤษ Syphon ชื่อภาษาไทย ไส้ไก่,หางหมู การใช้งาน ลดอุณหภูมิของไหลก่อนเข้าถึงเกจวัดแรงดัน Material Body Stainless304, Stainless316, Steel Connection Screw BSP, Screw NPT Size 1/4″ – 3/4″   ไซฟอนที่ใช้ร่วมกับเกจวัดแรงดัน ไซฟอนที่ใช้ร่วมกันกับเกจวัดแรงดันในอุตสาหกรรมสายการผลิต มีหลากหลายแบบด้วยกัน ที่นิยมใช้จะมี 3 แบบ ดังนี้ ไซฟอนแบบขด (Coil Pipe Syphon) หรือ โอไซฟอน (O […]

PRESSURE MEASUREMENT-21-ไซฟอน syphon มีไว้ทำไม?

“ไซฟอน” หรือที่หลายๆคนเรียกกันว่า “ไส้ไก่” “หางหมู” โดยทั่วไปแล้ว นิยมติดตั้งเมื่อต้องการวัดความดันของของไหลที่อยู่ในสถานะไอหรือไอน้ำที่มีอุณหภูมิสูง ซึ่งมีด้วยกันหลากหลายรูปแบบ เช่น 1. แบบขด (Coil Pipe Syphon) ไซฟอนแบบขด จะเป็นแบบที่มีพื้นที่ผิวสำหรับถ่ายเทความร้อนมาก การลดอุณหภูมิในการใช้ไซฟอนแบบขดจะขึ้นอยู่กับ 5 ปัจจัยหลักๆ ได้แก่ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของขดไซฟอน, ขนาดความยาวรวมของขด, ความหนาของท่อไซฟอน อุณหภูมิรอบๆ ตัว ไซฟอน และ สภาพการถ่ายเทอากาศของห้อง (Ventilation) 2. แบบแทงก์ (Tank Syphon) แบบแทงก์นี้ผลการใช้งานจะด้อยกว่าแบบขด ก่อนการใช้งานต้องเติม Fluid ลงไปในแทงก์ก่อนเพื่อทำหน้าที่เป็นซีลไปด้วย คือช่วยป้องกันไม่ให้ Fluid ในระบบเข้าไปถึงตัววัดความดัน การใช้งานต้องวางให้ตั้งฉากกับแนวระดับเสมอ ไม่ให้ Fluid ที่เติมไหลไปปนกับในระบบ   3. แบบหางหมู และแบบที่สร้างไว้ในท่อ (Pig Tail & Internal) โดยมีประโยชน์หลัก คือใช้เพื่อลดอุณหภูมิของของไหลก่อนเข้าถึงเครื่องมือวัด  โดยหลักการที่ว่า ในท่อไซฟอน […]

PRESSURE MEASUREMENT-20-ไซฟอน (Syphon) คืออะไร

ไซฟอน (Syphon) หรือ ไส้ไก่, หางหมู เป็นอุปกรณ์ที่ไว้ติดตั้งพร้อมกับเกจวัดแรงดัน เพื่อช่วยในการลดอุณหภูมิของไหลก่อนเข้าถึงเกจวัดแรงดัน (Pressure Gauge) ป้องกันไม่ให้เกจวัดแรงดันเสียหาย เหมาะสำหรับงานที่ใช้ความร้อนสูงหรืองานที่ใช้ไอน้ำ (Stream)  สามารถติดกับเกจวัดแรงดันได้โดยตรงหรือสามารถติดกับไดอะแฟรมได้ (Diaphragm) โดยไซฟอนอาศัยหลักการใช้แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล

PRESSURE MEASUREMENT-19-เจาะลึก! ทำความรู้จักกับ Syphon “ไซฟอน”

Syphon “ไซฟอน” หรือที่หลายๆคนเรียกกันว่า “ไส้ไก่” “หางหมู” ประโยชน์ของมัน เอาไว้ ลดอุณหภูมิของของไหลก่อนเข้าถึงเครื่องมือวัด  โดยทั่วไปแล้ว นิยมติดตั้งร่วมกับ Pressure Gauge เมื่อต้องการวัดความดันของของไหลที่อยู่ในสถานะไอหรือไอน้ำที่มีอุณหภูมิสูง ซึ่งมีด้วยกันหลากหลายรูปแบบ และวัสดุ มาดูกันเลยยยย Syphon “ไซฟอน” มีแบบใดบ้าง  syphon หลายแบบ ได้แก่ 1. แบบขดลวด  ( Coil Pipe Syphon ) ไซฟอนแบบขดลวด จะเป็นแบบที่มีพื้นที่ผิวสำหรับถ่ายเทความร้อนมาก การลดอุณหภูมิในการใช้ไซฟอนแบบขดจะขึ้นอยู่กับ 5 ปัจจัยหลัก ได้แก่  ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของขดไซฟอน , ขนาดความยาวรวมของขด, ความหนาของท่อไซฟอน , อุณหภูมิรอบรอบตัวไซฟอน , และสภาพการถ่ายเทอากาศของห้อง (Ventilation) 2. แบบแทงก์ (Tank Syphon) แบบแทงก์นี้ผลการใช้งานจะด้อยกว่าแบบขด ก่อนการใช้งานต้องเติม Fluid ลงไปในแทงก์ก่อนเพื่อทำหน้าที่เป็นซีลไปด้วย คือช่วยป้องกันไม่ให้ Fluid ในระบบเข้าไปถึงตัววัดความดัน […]

PRESSURE MEASUREMENT-18-DIGITAL PRESSURE GAUGE

เกจดิจิตอล ใช้วัดแรงดันโดยแสดงผลออกมาในรูปแบบของตัวเลขผ่านหน้าจอ LED สามารถที่จะระบุค่าแรงดันออกมาในหน่วยต่างๆได้ เพียงแค่กดปุ่มเปลี่ยนแปลงหน่วย และมีค่าความละเอียดในการวัดสูงกว่าแบบเข็ม  

PRESSURE MEASUREMENT-17-ข้อดีและข้อเสียของ Digital Pressure Gauge

ในปัจจุบัน แม้เทคโนโลยีในการผลิตจะก้าวหน้าไปมากแล้วก็ตาม แต่ในการใช้งานบางอย่าง ระบบดิจิตอลก็ยังไม่ได้ตอบโจทย์ในการใช้งานมากนัก วันนี้เราจึงขอยกตัวอย่างของใช้ที่ค่อนข้างจะใกล้ตัว คือ Pressure Gauge ในแบบ Digital มาให้ชมกันว่า มีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันเช่นไร ข้อดี สามารถเก็บค่าที่วัดได้อย่างรวดเร็ว และในบางครั้งสามารถส่งข้อมูลเข้าคอมพิวเตอร์ได้เลย สามารถแสดงความละเอียดที่สูงมากๆได้ เพราะตัวเลขสามารถแสดงได้ถึง 0.001 มม เนื่องจากมีตัวเลขแสดงที่หน้าจอ จึงสามารถอ่านค่าได้เลย ไม่ต้องนับรอบ แม้ติดตั้งในที่ๆมีการสั่นสะเทือนสูง ก็ยังสามารถอ่านค่าได้ ข้อเสีย มีราคาที่แพงกว่าค่อนข้างมาก แต่ส่วนต่างของกำลังที่ได้กลับน้อยลง การทำงานต้องใช้แบตเตอรี่ ซึ่งส่วนใหญ่ค่อนข้างมีราคาแพง และยุ่งยากในการเปลี่ยน ไม่สามารถอ่านค่าที่ไม่คงที่ และไม่เห็นค่าการเปลี่ยนแปลงของแรงดัน ต้องระวังเรื่องความชื้น และสนามแม่เหล็กไฟฟ้า เพราะจะทำให้เครื่องเกิดความเสียหายได้ ปาโก้ เอ็นจิเนียริ่ง ปาโก้จำหน่ายวาล์วและสินค้าเครื่องมือวัดทางอุตสาหกรรมไม่ว่าจะเป็น  โฟลมิเตอร์ โรตามิเตอร์ วัดการไหล เกจวัดแรงดัน Pressure_gauge เพรชเชอร์เกจ valvecontrol valveคอนโทรลวาล์ววาล์วติดหัวขับเซฟตี้วาล์วโซลินอยด์วาล์ว บริการให้คำปรึกษา แนะนำสินค้าที่เหมาะกับลักษณะการใช้งานของท่าน และจัดหาสินค้าให้ท่านตามต้องการค่ะ ทำความรู้จัก PAKO ENGINEERING บริการจัดส่งทั่วประเทศ เริ่มการเขียน หรือพิมพ์เครื่องหมายทับ (/) เพื่อเลือกบล็อก สนใจ Product เพิ่มเติมติดต่อเราได้ทางFACEBOOK : Pako Engineering Well FlowmeterPressure gauge […]

PRESSURE MEASUREMENT-16-ทำไมต้องติดไดอะแฟรมซีล (Diaphragm seal)

ไดอะแฟรมซีล (diaphragm seal) เป็นเคมีคอลซีล (chemical seal) รูปแบบหนึ่ง ทำหน้าที่แยกของไหลในระบบออกจากเครื่องมือวัดความดัน โดยของไหลในระบบส่งผ่านความดัน (pressure) ให้กับแผ่นไดอะแฟรม (diaphragm plate) ทำให้เกิดการโก่งตัวและส่งผ่านพลังงานต่อให้ของเหลวที่บรรจุอยู่ในท่อแคพพิลลารีเหนือแผ่นไดอะแฟรมเพื่อส่งต่อความดันให้กับเครื่องมือวัด ไดอะแฟรมซีลเหมาะสำหรับการวัดความดัน (pressure measurement) ของไหลในระบบที่มีสารแขวนลอยปะปนโดยที่ของไหลไม่ต้องสัมผัสกับเครื่องมือวัด จึงไม่เกิดปัญหาการอุดตัน ของเหลวที่นิยมใช้เติมในท่อแคพิลลารีส่วนใหญ่ คือ น้ำมันซิลิโคนซึ่งมีเสถียรภาพดีในย่านอุณหภูมิสูงถึง 200°C   การเลือกใช้วัสดุของซีล/ไดอะแฟรม และตัวเรือนเพื่อให้สามารถใช้งานวาล์วได้เหมาะสมกับงาน มีดังนี้ 1. ซีลประเภทต่างๆ EPDM (ethylene-propylene) เหมาะสำหรับงานอุณภูมิช่วง -20 องศา ถึง 180 องศา ช่วงอุณหภูมิที่ใช้ได้จะสูงกว่าช่วงของ NBR ทนต่อการเสื่อมสภาพจากความร้อน สตรีม โอโซน ออกซิเจน มีความยืดหยุ่นสูง แต่ทนต่อแรงดึงต่ำ ทนต่อการฉีกขาดสูงโดยเฉพาะช่วงอุณหภูมิสูง compression set ต่ำมาก ทนต่อการล้าตัวสูง และสามารถทนสารเคมีได้ดีอีกด้วย แต่ไม่ทนต่อน้ำ FFPM (perfluoroelastomer) เป็นวัสดุที่ใช้กับซีล ทนต่อสารเคมี งานอุณหภูมิสูง โดยเฉพาะงานเกี่ยวกับ อาหารและยา (pharmaceutical applications) FPM (fluoroelastomer) เหมาะกับงานช่วงอุณหภูมิสูง สามารถใช้ได้ดีกับสารจำพวกน้ำมัน […]

PRESSURE MEASUREMENT-15-ไดอะแฟรมซีล (Diaphragm Seal) คืออะไร?

ไดอะแฟรมซีลเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ควบคู่กับ เกจวัดแรงดัน (pressure gauge) เป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายในวงการอุตสาหกรรมมีหลากหลายประเภทสามารถเลือกใช้งานตามความเหมาะสม

PRESSURE MEASUREMENT-14-Pressure SNUBBER

ทำหน้าที่ รับแรงดันกระชากจากระบบ  เพื่อป้องกันไม่ให้แรงดันที่กระชาก เข้ามาก่อความเสียหายกับตัวอุปกรณ์ เช่น Pressure Gauge PRESSURE SNUBBER มีทั้งหมด 2 แบบ  

PRESSURE MEASUREMENT-13-กลีเซอรีนคืออะไร ? ทำไม Pressure Gauge ต้องเติมกลีเซอรีน

   กลีเซอรีน เป็นของเหลวที่ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น มีความหนืด และมีรสหวาน โดยปกติมาจากน้ำมันของพืช ซึ่งโดยทั่วไปคือ น้ำมันมะพร้าว และน้ำมันปาล์ม กลีเซอรีนสามารถละลายได้ดีในแอลกอฮอล์และน้ำ แต่ไม่ละลายในไขมัน เนื่องจากกลีเซอรีนมีคุณสมบัติทางเคมีที่หลากหลายจึงสามารถนำไปใช้เป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์สารเคมีอื่นๆได้ ด้วยคุณสมบัติที่สามารถละลายในแอลกอฮอล์และน้ำได้นี่เอง จึงนำไปใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง ซึ่งกลีเซอรีนบริสุทธิ์สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ในหลายรูปแบบ เช่น ใช้เป็นส่วนผสมหรือเป็นตัวช่วยในกระบวนการผลิตเครื่องสำอางค์ ผลิตภัณฑ์ในห้องน้ำและสุขอนามัยส่วนบุคคล อาหาร ยาสีฟัน ยาสระผม และนิยมใช้มาหในอุตสาหกรรมสบู่ เพราะกลีเซอรีนเป็นส่วนช่วยหล่อลื่นเหมือนมอยซ์เจอร์ไรเซอร์เพื่อปกป้องผิวไม่ให้แห้งและดูดซับความชื้นเมื่อสัมผัสกับอากาศซึ่งจะทำให้รู้สึกว่าผิวมีความชุ่มชื้น อ่อนโยนต่อผิว ขจัดความสกปรกที่ฝังแน่น ไม่ทำให้อุดตันรูขุมขน รวมทั้งปลอดภัยต่อผิวหนัง การที่กลีเซอรีนเป็นสารที่ไม่มีพิษในทุกๆรูปแบบของการประยุกต์ใช้ ไม่ว่าจะใช้เป็นสารตั้งต้นหรือสารเติมแต่ง ทำให้กลีเซอรีนเป็นสารเคมีที่ได้รับความสนใจและนำไปใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ด้วยการทำยาเหน็บทวาร ใช้เป็นยาระบาย และยังสามารถใช้เป็ฯยาเฉพาะที่สำหรับปัญหาทางผิวหนังหลายชนิด รวมถึง โรงผิวหนัง ผื่น แผลไฟลวก แผลกดทับ และบาดแผลจากของมีคม กลีเซอรีนถูกใช้เพื่อรักษาโรคเหงือกได้ด้วย เนื่องจากกลีเซอรีนสามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียที่เกี่ยวข้องได้ กลีเซอรีน (glycerine) อาจจะเรียกได้หลายชื่อ เช่น glycerol, glycerin, หรือ 1,2,3-propanetriol สามารถเขียนสูตรโมเลกุลทางเคมีได้เป็น CH 2 OHCHOHCH 2 OH เป็นสารไม่มีกลิ่น(odorless) […]

PRESSURE MEASUREMENT-12-How Pressure Gauge is made

Background Many of the processes in the modern world involve the measurement and control of pressurized liquid and gas systems. This monitoring reflects certain performance criteria that must be controlled to produce the desirable results of the process and insure its safe operation. Boilers, refineries, water systems, and compressed gas systems are but a few […]

PRESSURE MEASUREMENT-11-การติดตั้งเพรสเชอร์เกจในระบบน้ำเพื่อการเกษตร

โดยทั่วไป Pressure Gauges  จะติดตั้งบนงานท่อน้ำของเครื่องจักรหลัก เช่น งานน้ำ,งานลม,งานแก๊ส และอื่นๆ  หน้าที่สำคัญของ เพรสเชอร์เกจส์ได้แก่ใช้วัดประสิทธิภาพของเครื่องจักรหลักที่ทำหน้าที่สร้างแรงดันของไหลในระบบ ซึ่งได้แก่ เครื่องสูบน้ำ (Water Pump), เครื่องกำเนิดไอน้ำ (Boiler), เครื่องอัดอากาศ (Air-Compressor) เป็นต้น เพรสเชอร์เกจส์ ที่ติดตั้งทางด้านท่อดูด จะทราบว่าหัวกะโหลกตันมีเศษขยะอุดตันหรือท่อทางด้านดูดมีการรั่วซึม รวมถึงใบพัดปั๊มน้ำเกิดการอุดตันหรือไม่  ทั้งนี้ในการติดตั้งระบบปั๊มน้ำและเพรสเชอร์เกจส์ครั้งแรก จะต้องอ่านค่าครั้งแรกเอาไว้เพื่อเทียบความแต่ต่างกับ กรณีที่เราใช้งานไปนานๆแล้วค่าตัวเลขของเพรสเชอร์เกจส์มีการอ่านค่าผิดไปจากเดิม เพรสเชอร์เกจส์ ที่ติดตั้งทางด้านท่อจ่ายจะบอกให้เกษตรกรรู้ว่าระบบท่อจ่ายรั่วซึมหรือชำรุดหรือไม่ประสิทธิภาพของปั๊มน้ำยังคงทำงานได้ดีหรือไม่ ตัวอย่างเช่น ติดตั้งระบบปั๊มน้ำครั้งแรก อ่านค่าจากเพรสเชอร์เกจส์ทางด้านท่อจ่ายได้ 3 บาร์ เมื่อมีการใช้งานไปได้สักระยะหนึ่งความดันที่อ่านได้คือ 1บาร์ ตรงนี้ให้เกษตรกรรู้ได้เลยว่าจะต้องมีการรั่วซึมในระบบทางด้านท่อจ่ายหรือมอเตอร์ปั๊มน้ำมีการอุกตันในใบพัดเป็นต้น ข้อแนะนำในการติดตั้งเพรสเชอร์เกจส์ จะต้องติดตั้ง เพรสเชอร์เกจส์ทั้ง2 ด้าน คือด้าน ท่อดูดและด้าน ท่อจ่าย ตำแหน่งที่ติดตั้งต้องอยู่บริเวณหน้าแปลนของเครื่องสูบน้ำ ซึ่งโรงงานผู้ผลิตได้เจาะรูและอุดปลั๊กมาให้แล้ว ห้ามติดตั้งหลังอุปกรณ์อื่นๆ เช่น ข้อต่ออ่อนหรือ วาล์วโดยเด็ดขาด เพราะจะทำให้ค่าความดันที่อ่านได้ไม่ถูกต้อง เนื่องจากไปวัดความดันรวม ความดันตกคร่อม ของอุปกรณ์อื่นๆ ไว้ด้วย ต้องจัดทิศทางของหน้าปัทม์ให้อยู่ในทิศทางเดียวกัน เพื่อให้สะดวกในการอ่านค่าความดัน สเกลของ เพรสเชอร์เกจส์ที่ใช้ต้องขึ้นอยู่กับแรงดันใช้งานของระบบ ตำแหน่งเข็มของเพรสเชอร์เกจส์ขณะใช้งานควรอยู่ระหว่างกึ่งกลางถึง 60% ของสเกล สเกลของ […]

PRESSURE MEASUREMENT-10-DIFFERENTIAL Pressure gauge

  เป็นอุปกรณ์วัดความดันที่เปรียบเทียบความดันทั้งสองด้าน เช่น ด้านเข้าและออกได้ เพื่อตรวจสอบการอุดตันของระบบ เหมาะสำหรับการตรวจสอบการอุดตันของแผ่นกรองอากาศ เป็นต้น

PRESSURE MEASUREMENT-10-2-Differential Pressure

ความหมายของ Differential Pressure (ภาษาไทย : ความดันดิฟเฟอเรนเชียล) เป็นการบอกค่าความแตกต่างของความดันระหว่างจุด 2 จุดความดันดิฟเฟอเรนเชียลจะมีค่าเป็นศูนย์ที่ความดันทั้ง 2 จุดที่วัดมีค่าเท่ากัน ค่าความดันแตกต่างจะมีตัวย่อต่อท้ายว่า “d “หรือ “D” เช่น Psid เป็นต้น บางครั้งอาจเรียกว่า delta P (ΔP) คุณสมบัติของ Differential Pressure Gauge เป็นการบอกค่าของความดันที่ต่างกันระหว่างแหล่งที่วัดความดัน 2 แหล่ง วัดความดันลบในห้องแยกโรค วัดความดันบวกในห้องปลอดเชื้อ ความแตกต่างของ Differential Pressure Gauge และ Pressure Gauge Differential Pressure Gauge เป็นการบอกค่าของความดันที่ต่างกันระหว่างแหล่งที่วัดความดัน 2 แหล่ง    Pressure Gauge  มีจุดอ้างอิงค่าศูนย์อยู่ที่ความดันบรรยากาศ โดยค่าที่แสดงจะเป็นค่าที่สูงกว่าความดันบรรยากาศที่ระดับน้ำทะเล 1 บรรยากาศ

PRESSURE MEASUREMENT-09-ชนิดของความดัน Pressure

ความดัน (อังกฤษ: pressure; สัญลักษณ์ p หรือ P) เป็นปริมาณชนิดหนึ่งในทางฟิสิกส์ หมายถึง อัตราส่วนระหว่างแรงที่กระทำตั้งฉากซึ่งทำโดยของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส ต่อพื้นที่ของสารใด ๆ (ของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส) ความดันเป็นปริมาณสเกลาร์ ซึ่งเป็นปริมาณที่มีแต่ขนาดไม่มีทิศทาง ชนิดของความดัน ความดันอากาศ หรือความกดอากาศ ความดันไอ ความดันของเหลว   ความดันอากาศ หรือความกดอากาศ แรงดันอากาศบนพื้นที่ขนาดไม่เท่ากัน จะมีค่าไม่เท่ากัน ถ้าพื้นที่มากแรงดันอากาศที่กระทำต่อพื้นที่นั้นก็มากด้วย ค่าของแรงดันอากาศต่อหนึ่งหน่วยพื้นที่ที่รองรับนั้น เรียกว่า ความดันอากาศ ในการพยากรณ์อากาศนิยมเรียกความดันอากาศว่า ความกดอากาศ ความกดอากาศแบ่งเป็น 2 ประเภท  ความกดอากาศสูง หมายถึง บริเวณที่มีความกดอากาศสูงกว่าบริเวณข้างเคียง บริเวณที่มีความกดอากาศสูงจะมีท้องฟ้าแจ่มใส และอากาศหนาวเย็น กระแสลมจะพัดเวียนออกจากศูนย์กลางในทิศทางตามเข็มนาฬิกา ความกดอากาศต่ำ หมายถึง บริเวณที่มีความกดอากาศต่ำกว่าบริเวณข้างเคียง บริเวณที่มีความกดอากาศต่ำ ท้องฟ้าจะมีเมฆมากกระแสลมจะพัดเข้าหาศูนย์กลางคล้ายก้นหอยในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา   ประโยชน์ของความดันอากาศ การดูดน้ำออกจากขวดโดยใช้หลอดดูด การดูดของเหลวเข้าหลอดหยดหรือเข็มฉีดย การเจาะกระป๋องนมต้องเจาะ 2 รู เพื่อให้อากาศในกระป๋องนมมีความดันอากาศเท่ากับความดันภายนอกกระป๋องนมทำให้สามารถเทนมออกจากกระป๋องนมได้ การถ่ายของเหลวโดยสายยางจากภาชนะหนึ่งไปยังอีกภาชนะหนึ่งที่อยู่ต่างระดับกัน เรียกว่า กาลักน้ำ การใช้แป้นยางดูดติดกับกระจกเพื่อยึดสิ่งของให้ติดกับกระจก   ความดันไอ  คือ ความดันของไอ (ไอนี้เกิดจากโมเลกุลหรืออะตอมหนีจากของเหลวหรือของแข็ง) ที่อุณหภูมิกำหนดสำหรับสารเฉพาะ มีความดันที่ซึ่งไอของสารนั้นอยู่ในจุด สมดุล กับสถานะที่เป็น ของเหลว หรือ ของแข็งของมัน นี่คือ ความดันไอสมดุล (equilibrium vapor pressure) หรือ ความดันไออิ่มตัว (saturation […]

PRESSURE MEASUREMENT-08-ประเภทและหลักการ Pressure Sensor ว่าเป็นอย่างไรบ้าง

ประเภทและหลักการ Pressure Sensor สวัสดีครับ ทางปาโก้ นำความรู้มามอบให้ทุกคน มาทำความเข้าใจเกี่ยวประเภทและหลักการ Pressure Sensor กันครับ ปาโก้ มีคำตอบ เชิญทุกท่านมาศึกษาพร้อมๆกับปาโก้เลยครับ ประเภทของ Pressure Sensor ในงานอุตสาหกรรม 1. Pressure Gauge (เกจวัดความดัน) สามารถวัดความดันได้ทั้งความดันเกจ ความดันสัมบูรณ์ และสุญญากาศ โดยจะแสดงผลเป็นแบบอนาล็อคหรือแบบเข็ม ข้อดีคือ มีราคาถูก ติดตั้งง่าย แต่ข้อเสียคือ อ่านค่าได้อย่างเดียว ไม่ละเอียด และไม่สามารถประยุกต์ใช้งานอย่างอื่นได้  เกจวัดความดันจะอาศัยหลักการยืดตัว/โก่งตัวของวัสดุที่มีสมบัติยืดหยุ่นหรือเรียกว่า “เครื่องมือวัดความดันแบบอิลาสติก” ทำงานโดยอาศัยการแปลงความดันที่อุปกรณ์ได้รับให้อยู่ในรูปการเคลื่อนที่ ประเภทของเกจวัดความดัน มีดังนี้ https://www.youtube.com/watch?v=0msD-sSOLaw&t=123s 2. Pressure Switch คือ สวิตซ์ควบคุมความดัน โดยใช้การตัดหรือต่อวงจรไฟฟ้าเมื่อความดันถึงจุดที่เรากำหนดไว้ Pressure switch นี้สามารถใช้งานควบคุมแรงดันทั่วไป ยกตัวอย่างเช่น การตัดต่อการทำงานของปั้มนํ้า Pressure Switch Sensor ประเภทนี้ไม่ต้องอาศัยแรงดันไฟเลี้ยงเนื่องโดยส่วนใหญ่ใช้ระบบกลไก (Mechanic) ในการทำงานโดยจะมีสัญญาณ Output เป็น Contact On/Off ใช้เพื่อตัดต่อระบบเพียงเท่านั้น ซึ่งแบ่งหลักการทำงานนี้ได้เป็นสองแบบ 3. Pressure […]

PRESSURE MEASUREMENT-07-BLACK STEEL BOTTOM

  เกจวัดแรงดัน ที่มีจุดเด่นที่ Cover Case วัสดุเป็นเหล็กดำ Gauge type (ชนิด) : Bourdon Dial Size (ขนาดหน้าปัด) : ตั้งแต่  1″ – 8″ Material Connection (ข้อต่อ) : ทองเหลือง, สแตนเลส Range (ย่านการวัด) 3 แบบ คือ Normal Range คือ 0 to + Vacuum  Range คือ (-) to 0 Compound range (-) to + ๊Unit Scale (หน่วยวัด) : Bar, PSI, kg/cm2, kPa, MPa, ,mBar Option : น้ำมันกรีเซอรีน   […]

PRESSURE MEASUREMENT-06-เกจวัดแรงดันดิจิตอล VS เกจวัดแรงดันแบบเข็ม

เกจวัดแรงดันที่มีใช้ในอุตาสาหกรรมมีหลากหลายแบบ โดยส่วนมากจะขึ้นอยู่กับการใช้งานของผู้ใช้ ไม่ว่าจะเกจวัดแรงดันแบบเข็มหรือเกจวัดแรงดันแบบดิจิตอล

PRESSURE MEASUREMENT-05-Pressure gauge All Stainless BACK

SS BACK หรือ เกจวัดแรงดัน แบบสแตนเลส ออกหลัง Dial Size (ขนาดหน้าปัด) :  2.5″ และ 4″ Material Dial : สแดตเลส 304 Connection (ข้อต่อ) : สแดตเลส 316 Connection Type (ลักษณะข้อต่อ) : อยู่ด้านหลังของหน้าปัด หรือเรียกง่ายๆ ว่า “แบบออกหลัง” Range (ย่านการวัด) 3 แบบ คือ Normal Range คือ 0 to + Vacuum  Range คือ (-) to 0 Compound range (-) to + ๊Unit Scale (หน่วยวัด) : Bar, PSI, kg/cm2, kPa, […]

PRESSURE MEASUREMENT-04-Pressure gauge All Stainless BOTTOM

  SS BOTTOM หรือ เกจวัดแรงดัน แบบสแตนเลส ออกล่าง Gauge type (ชนิด) : Bourdon Dial Size (ขนาดหน้าปัด) :  2.5″ และ 4″ Material Dial : สแดตเลส 304 Material Connection (ข้อต่อ) : สแดตเลส 316 Connection Type (ลักษณะข้อต่อ) : อยู่ด้านล่างของหน้าปัด หรือเรียกง่ายๆ ว่า “แบบออกล่าง” Range (ย่านการวัด) 3 แบบ คือ Normal Range คือ 0 to + Vacuum  Range คือ (-) to 0 Compound range (-) to […]

PRESSURE MEASUREMENT-03-Pressure gauge Brass Bottom, Brass Back

  Brass BOTTOM หรือ เกจวัดแรงดัน แบบทองเหลือง ออกล่าง Gauge type (ชนิด) : Bourdon Dial Size (ขนาดหน้าปัด) :  2.5″ และ 4″ Material Dial : สแตนเลส 304 Material Connection (ข้อต่อ) : สแตนเลส 316 Connection Type (ลักษณะข้อต่อ) : อยู่ด้านล่างของหน้าปัด หรือเรียกง่ายๆ ว่า “แบบออกล่าง” Range (ย่านการวัด) 3 แบบ คือ Normal Range คือ 0 to + Vacuum  Range คือ (-) to 0 Compound range (-) […]

PRESSURE MEASUREMENT-02-เกจวัดแรงดัน เพรชเชอร์เกจ และอุปกรณ์เสริม

เกจวัดแรงดัน Pressure Gauge  เกจวัดแรงดัน คือ เครื่องมือที่ใช้ในการอ่านค่าแรงดันในระบบท่อ ภายในโรงงานอุตสาหกรรม ทุกประเภท เช่น แรงดันลม และของเหลวได้ทุกชนิด  มีขนาดของหน้าปัดให้เลือกตั้งแต่ 1.5″ , 2.5″ ,  4″ , 6″  ขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ใช้  วัดสดุและขนาดของก็มีให้เลือกตามความต้องการเช่นกัน  ลักษณะเกจวัดแรงดัน จะแบ่งเป็น 2 ประเภท    เกจวัดแรงดันบูร์ดอง / เกจวัดแรงดันอนาล็อก / เกจวัดแรงดันแบบเข็ม      เป็นเกจวัดแรงดันชนิดอาศัยหลักการยืดตัวหรือโก่งตัวของวัสดุที่มีคุณสมบัติยืดหยุ่นเมื่อได้รับแรงดัน ลักษณะการทำงานของบูร์ดองมีหลักการเดียวกับของเด็กเล่นที่มีลักษณะเป็นขดกระดาษม้วน โดยเมื่อเป่าลมเข้า ขดกระดาษม้วนจะคลายตัวออก และเมื่อปล่อยลมออก ขดกระดาษจะม้วนตัวกลับเข้าสู่สภาพเดิม ดูคลิปตัวอย่างการทำงาน คลิกที่นี่       เกจวัดแรงดันแบบดบูร์ดอง ยังมีเกจที่เป็นรูปแบบของการส่งสัญญาณออก (สวิทช์ เปิด-ปิด) เรียกว่า “Pressure gauge with contact” ซึ่งมีไว้สำหรับในการส่งสัญญาณ แจ้งเตือน เช่น ไฟ , เสียง ซึ่งในหน้าปัดจะมีเข็มคอนแทค อยู่ด้านในหน้าปัด สามารถตั้งค่าเตือนเมื่อแรงดันตก ( low alarm ) และเตือนเมื่อแรงดันสูง ( Hi alarm ) ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้ใช้ ดูคลิปตัวอย่างการทำงาน คลิกที่นี่   ส่วนประกอบของเครื่องวัดแรงดัน  ตัวเรือนเป็นอุปกรณ์ภายนอกของ เกจ มีหน้าที่ป้องกันสิ่งสกปรกและป้องกันไม่ให้บูร์ดองเสียหาย  บูร์ดองวัสดุที่มีสมบัติยืดหยุ่นหรือทำงานโดยอาศัยการแปลงความดัน  เข็มหน่วยย่านการวัดเป็นจุดบอกระดับค่าของแรงดัน  ข้อต่อ/ จุดเชื่อม เป็นจุดต่อกับท่อหรือเชื่อมต่อกับอุปกรณ์เสริม สามารถเลือกขนาดไซร์  เฟืองเป็นกลไกลที่เชื่อมติดกับตัว บูร์ดอง เมื่อได้รับแรงดันแล้ว ปลายของบูร์ดองจะดึงเฟืองให้หมุนทำให้เข็มขยับตามระดับของแรงดัน  […]

PRESSURE MEASUREMENT-01-Pressure Gauge การเรียกหน่วยวัดแรงดันและการเทียบหน่วย

หน่วยแรงดันหลักบน Pressure Gauge OCTA ได้แก่ Pressure Gauge : bar, kg/cm^2, PSI Vacuum Gauge : bar, mmHg Compound Gauge : bar, kg/cm^2, PSI *หน่วยที่ใช้บ่อย PSI และ bar โดย 14.5 PSI  = 1 bar ≈ 0.98 kg/cm^2 (อาจประมาณอย่างหยาบได้ว่า bar และ kg/cm^2 มีค่าเกือบเท่ากัน)